สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
‘คุณคิดยังไงกับอาลีบาบา’ เป็นคำถามที่แจ๊ค หม่า ถามคนแปลกหน้าบนถนนที่ซานฟรานซิสโก คำตอบที่ได้กลับมาน่าพอใจ คนส่วนใหญ่เห็นตรงกันว่า Alibaba (อาลีบาบา) คือ คาถาวิเศษที่เปิดประตูทุกบานสู่มหาขุมทรัพย์ และทุกวันนี้ Alibaba ก็ได้เป็นมากกว่าขุมสมบัติธรรมดาทั่วไป เพราะที่แห่งนี้ได้รวมความสามารถของร้านค้าออนไลน์ขนาดใหญ่อย่าง อเมซอน (Amazon) และอีเบย์ (eBay) รวมทั้งระบบการเงินออนไลน์อย่างเพย์พาล...
NIA โดยศูนย์สร้างสรรค์ธุรกิจนวัตกรรมการเกษตร (Agro Business Creative Center : ABC Center) ร่วมกับมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดกิจกรรม Boot Camp ครั้งที่ 2 ณ SYN HUB กรุงเทพฯ ให้กับผู้ผ่านการคัดเลือกทั้ง 18 ทีม ในโครงการ Inno4Farmers: โครงการพัฒนานวัตกรรมการเกษตรสำหรับผู้ประกอบการธุรกิจนวัตกรรมเกษตรรุ่นใหม่ และการประกวด AgTech Innovation Awards 2019 จากจุดเริ่มที่ได้จุดประกายแนวคิดผ่านกระบวนการ D...
คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2546 อนุมัติการจัดตั้ง “สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)” คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 26 สิงหาคม 2546 อนุมัติการจัดตั้ง “สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (สนช.)” ให้เป็นหน่วยงานในกำกับของ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีระบบบริหารงานที่เป็นอิสระจากระบบราชการ โดยให้โอนเงินในส่วนของ “กองทุนพัฒนานวัตกรรม” มาเป็นทุนประเดิมของสำน...
ใน “งาน i-NNOVATION THAILAND WEEK 2017” วันที่ 5-8 ตุลาคม ไบเทคบางนาสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ สนช. ขานรับนโยบาย ไทยแลนด์ 4.0 ขับเคลื่อนประเทศด้วยและนวัตกรรม จัดงาน i-NNOVATION THAILAND WEEK 2017 ภายใต้แนวคิด “i-NNOVATION 360” งานนวัตกรรมครั้งแรกของประเทศ ที่ผู้เข้าร่วมงานจะได้รับประสบการณ์และมุมมองนวัตกรรมรอบด้านแบบ 360...
นวัตกรรมระดับโลกด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือตรวจวัดมาตรฐานรสชาติอาหารไทยที่สามารถพกพาได้ โดยการจำลองกระบวนการรับรู้ความอร่อยของมนุษย์ โดยอาศัยการรับรู้จากเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า รวมถึงการประเมินผลทางภาพ และนำไปประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligent หรือ AI) โครงข่ายประสาทเทียม (neural network) และการบูรณาการร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญด้านรสชาติอาหาร เพื่อฝึกสอนให้สา...
นวัตกรรมระดับโลกด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือตรวจวัดรสชาติอาหารไทย โดยการจำลองกระบวนการรับรู้ความอร่อยของมนุษย์ โดยอาศัยการรับรู้จากเซนเซอร์ทางเคมีไฟฟ้า นำไปประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ด้วยปัญญาประดิษฐ์ (artificial intelligent หรือ AI) โครงข่ายประสาทเทียม (neural network) และการบูรณาการร่วมกันระหว่างผู้เชี่ยวชาญด้านรสชาติอาหาร เพื่อฝึกสอนให้สามารถเข้าใจถึงรูปแบบของความอร่อยของอาหารแต่ละชนิด แล...
นวัตกรรมระดับโลกด้านผลิตภัณฑ์เครื่องมือตรวจวัดรสชาติอาหารที่มีขนาดเล็ก สามารถพกพาได้ โดยการใช้เซ็นเซอร์ทางเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบด้วยขั้วไฟฟ้า e-tongue แก๊สเซ็นเซอร์ e-nose และกล้องถ่ายภาพ e-eye เพื่อจำลองกระบวนการรับรู้ความอร่อยของมนุษย์ ตลอดจนประมวลผลในระบบคอมพิวเตอร์ด้วยปัญญาประดิษฐ์และโครงข่ายประสาทเทียม ให้สามารถเข้าใจถึงรูปแบบของรสชาติของอาหารแต่ละชนิดพร้อมกันนี้ ยังได้มีการพั...