สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับสถานเอกอัครราชทูตสวีเดนประจำประเทศไทย และสถาบันนวัตกรรมบูรณาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมจัดงานสัมมนาในหัวข้อ “Honouring the Nobel Prize: What lessons to be learned from developing the Swedish Innovation Ecosystem?” เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2567 ณ สถาบันนวัตกรรม...
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เข้าร่วมกิจกรรม Networking ณ The British Club Bangkok เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2567 โดยได้แลกเปลี่ยนมุมมองความคิดเห็นกับผู้ประกอบการยานยนต์ไฟฟ้าไทยเพื่อส่งเสริมธุรกิจยานยนต์ไฟฟ้าของประเทศ โดยมุ่งเน้นไปที่การพัฒนา Ecosystem และ Supply Chain ของอุตสาหกร...
ศาสตราจารย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล ประธานคณะกรรมการส่งเสริม วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (กสว.) ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA ภายใต้สังกัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ดร.สุรอรรถ ศุภจัตุรัส รองผู้อำนวยการด้านเศรษฐกิจและสังคม และคณะเจ้าหน้าที่ NIA เข้าร่วมหารือแลกเปลี่ยนกับ Mr. Vincent Weller, Student Assistant Startup an...
🎇 เทศกาลลอยกระทงเวียนมาบรรจบอีกครั้ง แต่ปัจจุบันหลายคนเริ่มรับรู้ถึงผลกระทบจากกิจกรรมในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ที่อาจสร้างขยะไหลลงสู่แม่น้ำลำคลองเป็นจำนวนมาก💧 ประเพณีลอยกระทง เป็นกิจกรรมเพื่อขอบคุณและขอขมาพระแม่คงคา ดังนั้นเมื่อวัตถุประสงค์ของประเพณีสวนทางกับกิจกรรมที่นำไปสู่การสร้างขยะ จึงเริ่มมีการคิดหาแนวทางในการลอยกระทงอย่างมีรูปแบบใหม่ ไม่ว่าจะเป็น การลอยกระทงผ่านระบบดิจิทัล การผลิตวัสดุประดิษฐ์กร...
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และสตาร์ทอัพไทยทั้ง 5 ราย จากสาขา HealthTech และ ClimateTech เข้าเยี่ยมชม Stanford University รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2567 Stanford Univers...
ผลการจัดอันดับดัชนีนวัตกรรมโลกในปี 2024 🇹🇭 นับเป็นอันดับสูงสุดที่ประเทศไทยเคยได้รับในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา โดยประเทศไทยได้ขยับขึ้นมาอยู่ในอันดับที่ 41 ของโลกจากทั้งหมด 133 ประเทศ (ขยับดีขึ้น 2 อันดับจากปีก่อนหน้า) และยังคงอยู่อันดับที่ 3 ในกลุ่มประเทศอาเซียน เป็นรองประเทศสิงคโปร์และมาเลเซีย📊 ภาพรวมความสามารถทางนวัตกรรมของประเทศไทย มีพัฒนาการขยับอันดับทั้งปัจจัยทางเข้านวัตกรรม (Innovation input sub-in...
งาน STARTUP x INNOVATION THAILAND EXPO 2023 (SITE 2023) เป็นงานมหกรรมนวัตกรรมและเครือข่ายสตาร์ทอัพ ไทยที่ยิ่งใหญ่ที่สุดในประเทศ โดยปีนี้จัดขึ้นภายใต้แนวคิด INNOVATION PARTNERSHIP - TOGETHER WE GROW ร่วมสร้าง “หุ้นส่วนนวัตกรรม” เพื่อนำไทยสู่ชาตินวัตกรรม ภายใต้หัวใจสำคัญ คือ ระบบนิเวศนวัตกรรม (Ecosystem) การทำงานร่วมกัน (Collaboration) และความเป็นสากล (Internationalization) โดยเป็นความร...
🚀 ในสมรภูมิการแข่งขันของเหล่าสตาร์ทอัพ มีหลายบริษัทจากประเทศไทยที่ทำผลงานได้ดีจนเข้าตานักลงทุน🧫 จากความสำเร็จของบริษัท ‘ยูนิฟาร์ส (UniFAHS)’ สตาร์ทอัพด้านเกษตรที่พัฒนานวัตกรรมอาหารเสริมชีวภาพสำหรับทำลายเชื้อซาลโมเนลล่าในลำไส้สัตว์แทนการใช้ยาปฏิชีวนะ สตาร์ทอัพที่ได้รับการสนับสนุนจาก NIA ผ่านกลไก “Groom Grant Growth” ตลอดมา โดยเมื่อต้นปี 2024 ก็ได้รับความเชื่อมั่นจาก A2D Vent...
🪙 บทบาทของ ‘นักลงทุน’ ไม่ได้มีแค่การให้เงินสนับสนุนแล้วรอรับผลกำไรเท่านั้น แต่ ‘การลงทุน’ ยังมีส่วนในการส่งเสริมเศรษฐกิจและพัฒนาศักยภาพของสตาร์ทอัพ📈 โดยปกติแล้วการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เดินหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องพึ่งพา 4 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ การบริโภคภาคเอกชนภายในประเทศ (Private Consumption) การค้าต่างประเทศหรือการส่งออกสุทธิ (Net Export) การบริโภคจากภาครัฐ (Gover...
แท้จริงแล้วมนุษย์ไม่ได้ทำการตัดสินใจให้มูลค่าเรื่องใดเรื่องหนึ่งจาก “คุณค่าเชิงการใช้งาน” (Functional Value) เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่หลายครั้ง “คุณค่าทางอารมณ์” (Emotional Value) กลับเป็นปัจจัยสำคัญ และสิ่งนี้เองนำมาซึ่ง “การสร้างมูลค่าเพิ่ม” และสามารถตั้ง “ราคาที่คนยอมจ่าย” ให้กับสินค้าและบริการชนิดเดียวกัน ในราคาที่ต่างกัน หากในระดับสินค้าอุปโ...