สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และสตาร์ทอัพไทยทั้ง 5 ราย จากสาขา HealthTech และ ClimateTech เดินทางสู่เมืองซานฟรานซิสโก เพื่อเข้าร่วมงาน TechCrunch Disrupt 2024 โดยงานนี้ถือเป็นหนึ่งในเวทีนวัตกรรมระดับโลกที่ยิ่งใหญ่ที่สุด...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมออกบูธแสดงสินค้าในงาน Thailand Week 2024 ซึ่งจัดโดย สำนักงานส่งเสริมการค้าในต่างประเทศ ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ (DITP Malaysia) เมื่อวันที่ 16 - 19 ตุลาคม 2567 ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย ซึ่งได้รับเกียรติจากนางสาวลดา ภู่มาศ เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงกัวลาลัมเปอร์ ประเทศมาเลเซีย เข้...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดย ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการ ร่วมกับ กรุงเทพมหานคร และโรงพยาบาลกลาง เปิดพื้นที่อาคารอุทยานนวัตกรรม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อให้บริการตรวจสุขภาพฟรีแก่ประชาชน ภายใต้โครงการคาราวานตรวจสุขภาพฟรี 1 ล้านคน ซึ่งกรุงเทพมหานคร และโรงพยาบาลกลางได้ดำเนินการมาอย่า...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมมือกับ CCC Academy และเครือข่ายพันธมิตร เปิดตัวหลักสูตรเร่งสร้างผู้เชี่ยวชาญเอกชน เพื่องานปัญญาประดิษฐ์ ระบบอัตโนมัติ และไอโอที (AI, Robotics and IoT Corporate Coaching program หรือ ACC program) ซึ่งเป็นหลักสูตรส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจนวัตกรรมดิจิทัลที่ตอบโจทย์องค์ความรู้ให้กับบุคลาก...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) นำโดย ดร.สุรอรรถ ศุภจัตุรัส รองผู้อำนวยการด้านเศรษฐกิจและสังคม พร้อมด้วย นายยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ กรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ และนายปรัชญา เพิ่มทองคำ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาโอกา...
กลไกการสนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้มีโอกาสเติบโตและขยายตลาดโดยการร่วมมือจากแหล่งทุนภาครัฐและเอกชน (Corporate Co-funding) ทุนอุดหนุนสมทบกำหนดเงื่อนไขการส่งคืนเมื่อโครงการประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ (recoverable grant) แก่ผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระยะเริ่มต้นจนถึงระยะเติบโต (seed to growth stage) คิดเป็นมูลค่าการสนับสนุนไม่เกิน 5,000,000 บาท ต่อโครงการในระยะเวลาไม่เกิน...
🗺 ในยุคที่พรมแดนของโลกแคบลง ผลงานดี ๆ ของคนไทย ควรมีโอกาสเข้าถึงตลาดโลก📈 ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ส่งผลให้ธุรกิจสร้างข้อได้เปรียบเชิงการค้าระหว่างประเทศได้ง่ายขึ้น การขยายตลาดไปสู่ประเทศอื่น ๆ ก่อให้เกิดผลดีทั้งในมุมของผู้ประกอบการไปจนถึงเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ง NIA ได้เล็งเห็นถึงโอกาสและศักยภาพของนวัตกรรมฝีมือคนไทย รวมถึงเชื่อมั่นว่า “นวัตกรรมไทยสามารถแข่งขันในเวทีระดับโลกได...
มีใครรู้บ้างว่า Montgomery County แห่งรัฐ Maryland อยู่ที่ไหน และมีนวัตกรรมอะไรที่น่าสนใจอยู่บ้าง !?🔬 ภายใต้ชื่อที่หลายคนไม่รู้จัก แต่ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของคลัสเตอร์ชีวการแพทย์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นแหล่งรวมของนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ โดยมีตัวอย่างผลงานที่แค่พูดชื่อไปไม่ว่าใครก็ต้องรู้จักอย่างวัคซีน Novavax และยังเป็นที่แรก ที่สามารถพัฒนาการปลูกถ่ายอวั...
เคยสงสัยกันไหม...ทำไมการเกิดขึ้นของสตาร์ทอัพระดับยูนิคอร์นถึงมีความสำคัญ !?💵 เพราะจำนวนยูนิคอร์น เป็นการสะท้อนถึงศักยภาพการเติบโตของธุรกิจสตาร์ทอัพในประเทศนั้นๆ ซึ่งเป็นปัจจัยที่นักลงทุนทั้งในและต่างประเทศใช้ประกอบการพิจารณาเพื่อระดมทุน ยูนิคอร์นจึงเป็นเหมือนเครื่องมือ ช่วยดึงดูดเม็ดเงินเข้าสู่ประเทศ ดังนั้นหลายหน่วยงานจึงพยายามส่งเสริมการ Scale-up ของธุรกิจสตาร์ทอัพ เพื่อให้เกิดการขยับฐานะไปสู่กา...
ทุกท่านที่อยู่ในวงการนวัตกรรม หรือ สตาร์ทอัพ (Startup) อาจจะเคยได้ยินคำว่า “ยูนิคอร์น” (Unicorn)* กันมาบ้าง แต่ในวันนี้เราจะมาพูดถึงศัพท์ที่อาจจะไม่ใหม่มาก แต่กำลังเป็นที่จับตามองในวงการสตาร์ทอัพ นั่นก็คือ “ม้าลาย” (Zebra) โดยถึงแม้ว่า “ม้าลาย” นั้น จะไม่ใช่สัตว์ในตำนานที่หาได้ยากอย่าง “ยูนิคอร์น” แต่บทความนี้จะพาไปรู้จักกลุ่มนวัตกรรมที่กำลังมาแรงพ...