สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) นำโดย ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการ พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และเจ้าหน้าที่ เข้าพบหารือกับ “500 Global” Venture Capital ณ สำนักงานใหญ่ ซานฟรานซิสโก เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2567 โดย NIA เปิดโอกาสให้สตาร์ทอัพไทยในกลุ่ม HealthTech แ...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) นำโดย ดร.สุรอรรถ ศุภจัตุรัส รองผู้อำนวยการด้านเศรษฐกิจและสังคม พร้อมด้วยนายปรัชญา เพิ่มทองคำ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาโอกาสทางธุรกิจ (ISMED) จัดกิจกรรมจับคู่ทางธุรกิจแบบ...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.) และสถาบันพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (ISMED) นำโดย ดร.สุรอรรถ ศุภจัตุรัส รองผู้อำนวยการด้านเศรษฐกิจและสังคม พร้อมด้วย นายยงวุฒิ เสาวพฤกษ์ กรรมการนวัตกรรมแห่งชาติ และนายปรัชญา เพิ่มทองคำ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาโอกา...
🚀 ในสมรภูมิการแข่งขันของเหล่าสตาร์ทอัพ มีหลายบริษัทจากประเทศไทยที่ทำผลงานได้ดีจนเข้าตานักลงทุน🧫 จากความสำเร็จของบริษัท ‘ยูนิฟาร์ส (UniFAHS)’ สตาร์ทอัพด้านเกษตรที่พัฒนานวัตกรรมอาหารเสริมชีวภาพสำหรับทำลายเชื้อซาลโมเนลล่าในลำไส้สัตว์แทนการใช้ยาปฏิชีวนะ สตาร์ทอัพที่ได้รับการสนับสนุนจาก NIA ผ่านกลไก “Groom Grant Growth” ตลอดมา โดยเมื่อต้นปี 2024 ก็ได้รับความเชื่อมั่นจาก A2D Vent...
🪙 บทบาทของ ‘นักลงทุน’ ไม่ได้มีแค่การให้เงินสนับสนุนแล้วรอรับผลกำไรเท่านั้น แต่ ‘การลงทุน’ ยังมีส่วนในการส่งเสริมเศรษฐกิจและพัฒนาศักยภาพของสตาร์ทอัพ📈 โดยปกติแล้วการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เดินหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องพึ่งพา 4 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ การบริโภคภาคเอกชนภายในประเทศ (Private Consumption) การค้าต่างประเทศหรือการส่งออกสุทธิ (Net Export) การบริโภคจากภาครัฐ (Gover...
🗺 ในยุคที่พรมแดนของโลกแคบลง ผลงานดี ๆ ของคนไทย ควรมีโอกาสเข้าถึงตลาดโลก📈 ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ส่งผลให้ธุรกิจสร้างข้อได้เปรียบเชิงการค้าระหว่างประเทศได้ง่ายขึ้น การขยายตลาดไปสู่ประเทศอื่น ๆ ก่อให้เกิดผลดีทั้งในมุมของผู้ประกอบการไปจนถึงเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ง NIA ได้เล็งเห็นถึงโอกาสและศักยภาพของนวัตกรรมฝีมือคนไทย รวมถึงเชื่อมั่นว่า “นวัตกรรมไทยสามารถแข่งขันในเวทีระดับโลกได...
🌴 “ยะโฮร์ฮับ” รัฐเกษตรกรรมที่เปลี่ยนสวนปาล์มน้ำมันเป็น Data Center จนบริษัทเทคระดับโลกสนใจลงทุน 🤝 ตอนนี้ไม่ว่าจะเป็น TikTok, Google และ Microsoft ต่างก็พากันทุ่มเม็ดเงินในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดิจิทัล ให้กับประเทศมาเลเซียอย่างคึกคัก โมเดลในการพัฒนาลักษณะนี้ มีความคล้ายคลึงกับตอนสร้างเมืองที่ประเทศจีนและสิงคโปร์ จากการเปิดพื้นที่ให้นักลงทุนได้เข้ามาใช้ประโยชน์ ทำให้สวนปาล์มน...
มีใครรู้บ้างว่า Montgomery County แห่งรัฐ Maryland อยู่ที่ไหน และมีนวัตกรรมอะไรที่น่าสนใจอยู่บ้าง !?🔬 ภายใต้ชื่อที่หลายคนไม่รู้จัก แต่ที่นี่ถือว่าเป็นศูนย์กลางของคลัสเตอร์ชีวการแพทย์ที่ใหญ่เป็นอันดับ 3 ของสหรัฐอเมริกา และเป็นแหล่งรวมของนักวิจัยและผู้เชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์ชีวภาพ โดยมีตัวอย่างผลงานที่แค่พูดชื่อไปไม่ว่าใครก็ต้องรู้จักอย่างวัคซีน Novavax และยังเป็นที่แรก ที่สามารถพัฒนาการปลูกถ่ายอวั...
✈ การพานวัตกรรมไทยไปบุกตลาดต่างประเทศ ถือเป็นอีกหนึ่งความท้าทายที่ผู้ประกอบการและสตาร์ทอัพไทยต้องการจะไปให้ถึง แต่ลำพังแค่การพัฒนานวัตกรรมหรือผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพอย่างเดียวอาจไม่เพียงพอ แต่ยังต้องอาศัยทั้งเงินทุนและคอนเนกชัน รวมไปถึงการเชื่อมโยงเครือข่ายต่างๆ ที่เป็นสะพานช่วยให้เกิดการสนับสนุน สร้างโอกาสทางธุรกิจที่ผ่านมา NIA ก็ได้มีการเชื่อมโยงเครือข่ายนวัตกรรม และสร้างความร่วมมือกับหน่วยงานพันธม...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมเสวนาทิศทางการลงทุนในสตาร์ทอัพปี 2024 ภายในงาน "Navigating the Startup Challenges in 2024 and Beyond" ซึ่งจัดขึ้นโดย Katalyst เมื่อวันที่ 27 มีนาคม 2567 ณ สามย่าน มิตรทาวน์ ทั้งนี้ ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการ NIA ร่วมเสวนาในหัวข้อการระดมทุนในปี 2024 ร่วมกับ คุณประพันธ...