สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
DeepTech กำลังจะเป็นคลื่นลูกที่ 4 ของนวัตกรรมแห่งโลกอนาคต โดยในอดีต คลื่นลูกที่ 1 ประกอบด้วยการปฏิวัติอุตสาหกรรม คลื่นลูกที่ 2 คือการขับเคลื่อนโดยหน่วยปฏิบัติการขององค์กรเป็นหลัก เช่น IBM, XeroxParc พร้อมทีมสหวิชาชีพที่มีความสามารถสูง ซึ่งมีส่วนร่วมอย่างมากในวงการวิทยาศาสตร์ โดยเริ่มจากการทำการวิจัยขั้นพื้นฐานเป็นหลัก ส่วนคลื่นลูกที่ 3 เริ่มจาก “Silicon Valley” โดยเน้นการพัฒน...
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรดังที่รู้จักคุ้นเคยกันดีว่า “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” เนื่องจากมีพื้นที่ทำการเกษตรสูงถึงร้อยละ 40 ของพื้นที่ทั่วประเทศ อีกทั้งตั้งอยู่ในภูมิประเทศที่มีความเหมาะสมในการทำเกษตรกรรม ทำให้ประเทศไทยมีการส่งออกสินค้าเกษตรติดอันดับหนึ่งของโลกหลายรายการเมื่อปี พ.ศ. 2564 ได้แก่ ยางพารา ทุเรียน แป้งมันสำปะหลัง ทูน่ากระป๋อง สัปปะรด และเป็นประเทศที่ส่งออกสินค้าเกษตรและอา...
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology) เป็นสาขาวิชาที่ใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อเรียนรู้กระบวนการทางชีววิทยาของสิ่งมีชีวิต เครื่องมือและผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ชนิดใหม่ที่พัฒนาโดยนักเทคโนโลยีชีวภาพมีประโยชน์ในการวิจัยเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นสายการแพทย์ การเกษตร และสาขาอื่นๆ โดยในบทความนี้จะสรุปการใช้งานเทคโนโลยีชีวภาพบางส่วนโดยเฉพาะที่ใช้ในด้านการเกษตร เพื่อนำเสนอแนวทางการใช้เทคโนโลยีชีวภาพสมัยใหม่ที่สามารถแ...
กลับมาอีกครั้งกับ Tech & The City by Global Startup Hub CNXNIA ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตรในพื้นที่เชียงใหม่ จัดกิจกรรมสร้างเครือข่ายเพื่อส่งเสริม Community สาย Tech ในชื่อ "Tech & The City" ครั้งที่ 10 เมื่อวันที่ 6 กรกฎาคม 2565 ณ One Sala @ One Nimmanโดยธีมหลักในครั้งนี้เจาะลึกไปยังเรื่องของ DeepTech ใน Agrofood ecosystem ในเชียงใหม่ ประเทศไทย และความสัมพันธ์ของอุตสาหกรรมนี้ในเวทีโ...
การเกษตรด้วยวิทยาการหุ่นยนต์ (Robotic Farming) เป็นกุญแจสําคัญที่จะเปลี่ยน อุตสาหกรรมเกษตร โดยอาศัยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีขั้นสูงร่วมกัน ได้แก่ การผสมผสานการใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ (Sensor Fusion) และการใช้ข้อมูลเชิงลึก ทางเกษตรในระดับโอมิกส์ (Agricultural Multiomics) อาทิ จีโนมิกส์ (Genomics) ทรานสคริปโตมิกส์ (Transcriptomics ) เมตาโบโทมิกส์ (Metabotomics) และ โปรติโอมิกส์ (Proteomi...
NIA ร่วมกับ 6 หน่วยงานพันธมิตรจากภาครัฐและเอกชน จัดกิจกรรมนำเสนอผลิตภัณฑ์และบริการของ 20 สตาร์ทอัพด้านการเกษตรจากโครงการ “AgTech Connext 2022” เมื่อวันที่ 9 - 10 มิถุนายน 2565 ที่ผ่านมา โดยมี ดร.พันธุ์อาจ ชัยรัตน์ ผู้อำนวยการ NIA ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานและกล่าวถึง "บทบาทการพัฒนาและส่งเสริมสตาร์ทอัพด้านการเกษตร" ในฐานะที่ NIA เป็น Focal Facilitator ในการเชื่อมโย...
“BCG” คืออะไร ? คำๆ นี้เกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนความยั่งยืนทางเศรษฐกิจของประเทศได้อย่างไร เมื่อความเป็นอยู่ของประชาชนถูกยกให้กลายเป็นวาระแห่งชาติ เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจไทยให้เติบโตแบบก้าวกระโดด กระจายรายได้ และกระจายโอกาสไปสู่ชุมชนอย่างทั่วถึง ก้าวข้ามกับดักประเทศรายได้ปานกลางไปสู่ประเทศรายได้สูง รัฐบาลจำเป็นต้องเร่งปรับเปลี่ยนแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมไทยไปสู่รูปแบบให...
ผู้แต่ง: -จำนวนหน้า: 5 หน้ารายละเอียดการเกษตรด้วยวิทยาการหุ่นยนต์ (Robotic Farming) เป็นกุญแจสําคัญที่จะเปลี่ยน อุตสาหกรรมเกษตร โดยอาศัยการใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีขั้นสูงร่วมกัน ได้แก่ การผสมผสานการใช้เทคโนโลยีเซ็นเซอร์ (Sensor Fusion) และการใช้ข้อมูลเชิงลึก ทางเกษตรในระดับโอมิกส์ (Agricultural Multiomics) อาทิ จีโนมิกส์ (Genomics) ทรานสคริปโตมิกส์ (Transcriptomics ) เมตาโบโท...
NIA เปิดรายงานระบบนิเวศสตาร์ทอัพเกษตรครั้งแรกของไทยพร้อมเดินหน้าเน้นใช้เทคโนโลยีเชิงลึก และผนึกกำลังพันธมิตรร่วมพลิกโฉมระบบเกษตรไทย6 สิงหาคม 2564 - NIA ร่วมกับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ เปิด “สมุดปกขาวการขับเคลื่อนพัฒนาระบบนิเวศสตาร์ทอัพด้านการเกษตรของประเทศไทย (Thailand AgTech Startup Ecosystem Development White Paper)” โดยมุ่งเน้นสนับสนุนการใช้เทคโนโลยีเชิงลึก หรือ ดีพเทค มากขึ้น พร...
เมื่อพูดถึงโดรน ใครหลายๆ คนอาจกำลังคิดถึงโดรนถ่ายภาพ แต่โดรนอีกประเภทที่น่าสนใจไม่แพ้กัน ก็คือโดรนสำหรับการเกษตร ซึ่งหลากหลายประเทศทั่วโลกต่างก็นำเทคโนโลยีชนิดนี้เข้ามาพัฒนาพื้นที่ทางการเกษตรของตัวเองและในฐานะที่ประเทศไทยก็เป็นอีกประเทศที่มีจุดเด่นทางด้านเกษตรกรรม เรียกได้ว่าเป็นอุตสาหกรรมหลักในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ยิ่งควรให้ความสนใจและศึกษาหาความรู้ในเทคโนโลยีนี้อย่างเต็มที่ บทความนี้จึงชวนคุณมา...