สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม ร่วมให้การต้อนรับ สมาคม ThAIland Business Angel Network หรือ TBAN และคณะทำงาน เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายน 2567 ณ อาคารอุทยานนวัตกรรม สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) เพื่อแลกเปลี่ยนหารือประเด็นความร่วมมือระหว่าง NIA และสมาคม TBAN ใ...
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และสตาร์ทอัพไทยทั้ง 5 ราย จากสาขา HealthTech และ ClimateTech เข้าเยี่ยมชม Stanford University รัฐแคลิฟอร์เนีย สหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 27 ตุลาคม 2567 Stanford Univers...
🌾 “ในน้ำมีปลา ในนามีข้าว” สุภาษิตชูโรงเรื่องของความอุดมสมบูรณ์ของดินแดนขวานทองของประเทศไทยเรา ที่ไม่ว่าจะเพาะปลูกพืชผลอะไรก็เจริญงอกงาม🍚 โดยเฉพาะ “ข้าว” พืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย นอกจากจะใช้บริโภคภายในประเทศแล้ว ไทยยังส่งออกข้าวมากเป็นอันดับ 2 ของโลก เป็นรองแค่อินเดียเท่านั้น ซึ่งในช่วงเดือนกรกฎาคมที่ผ่านมา อินเดียเผชิญกับสถานการณ์ความท้าทายทางการ เกษตร ทั้งสภาพ...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) นำโดย ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการ พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และเจ้าหน้าที่ เข้าพบหารือกับ “500 Global” Venture Capital ณ สำนักงานใหญ่ ซานฟรานซิสโก เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2567 โดย NIA เปิดโอกาสให้สตาร์ทอัพไทยในกลุ่ม HealthTech แ...
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) พร้อมด้วย นายปริวรรต วงษ์สำราญ รองผู้อำนวยการด้านระบบนวัตกรรม และสตาร์ทอัพไทยทั้ง 5 ราย จากสาขา HealthTech และ ClimateTech เดินทางสู่เมืองซานฟรานซิสโก เพื่อเข้าร่วมงาน TechCrunch Disrupt 2024 โดยงานนี้ถือเป็นหนึ่งในเวทีนวัตกรรมระดับโลกที่ยิ่งใหญ่ที่สุด...
⛈️ เหตุการณ์น้ำท่วมภาคเหนือผ่านพ้นไป ครั้งนี้ถือว่าสร้างความเสียหาย และมีความรุนแรงที่สุดในรอบ 80 ปี มีการประเมินมูลค่าความเสียหายได้มากกว่า 30,000 ล้านบาท และมีแนวโน้มว่าอาจจะทะลุไปมากกว่านั้นถึง 50,000 ล้านบาท🌡️ หากพิจารณาถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดเหตุการณ์ครั้งนี้ ต้องบอกว่าแท้จริงแล้วเกิดจากหลายปัจจัยร่วมกัน หนึ่งในนั้นคือภาวะโลกเดือดที่ทำให้สภาพอากาศแปรปรวน เกิดเป็นพายุฝนที่ลากยาวต่อเนื่องตั้งแต่เ...