สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน)
การให้บริการของ NIA
ความเคลื่อนไหวของ NIA
ช่องทางในการติดต่อกับ NIA
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย (ธพว.) หรือ SME D Bank เดินหน้ายกระดับการสนับสนุนผู้ประกอบการให้สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนจากภาครัฐสำหรับนวัตกรรมสีเขียวและหน่วยงานเครือข่ายพันธมิตร จัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์ “กลไกการสนับสนุนธุรกิจนวัตกรรมสีเขี...
สำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ร่วมกับหน่วยงานพันธมิตร 4 หน่วยงาน ได้แก่ สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หอการค้าและสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย สมาพันธ์เอสเอ็มอีไทย และธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย ริเริ่มดำเนินงานกิจกรรมเร่งสร้างและยกระดับศักยภาพวิสาหกิจฐานนวัตกรรมด้านเกษตรและอาหารในเขตพื้นที่ระเบียงเ...
หลายครั้งที่ “นวัตกรรม” ถูกยกมาเป็นคำตอบทางกลยุทธ์ขององค์กรส่วนใหญ่ที่คาดหวังจะสร้างทางรอดและการเติบโตให้กับธุรกิจ แต่การจะพัฒนานวัตกรรมในองค์กรเพื่อก้าวสู่การเป็น “องค์กรนวัตกรรมที่ยั่งยืน” ท่ามกลางโลกที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วนั้นไม่ง่าย 🧑💼 NIA ภายใต้บทบาทของการเป็นผู้กำหนดทิศทางนวัตกรรม “Focal Conductor” จึงได้ดำเนินการพัฒนานวัตกรรมในองค์กรและสนับสน...
🚀 ในสมรภูมิการแข่งขันของเหล่าสตาร์ทอัพ มีหลายบริษัทจากประเทศไทยที่ทำผลงานได้ดีจนเข้าตานักลงทุน🧫 จากความสำเร็จของบริษัท ‘ยูนิฟาร์ส (UniFAHS)’ สตาร์ทอัพด้านเกษตรที่พัฒนานวัตกรรมอาหารเสริมชีวภาพสำหรับทำลายเชื้อซาลโมเนลล่าในลำไส้สัตว์แทนการใช้ยาปฏิชีวนะ สตาร์ทอัพที่ได้รับการสนับสนุนจาก NIA ผ่านกลไก “Groom Grant Growth” ตลอดมา โดยเมื่อต้นปี 2024 ก็ได้รับความเชื่อมั่นจาก A2D Vent...
วันที่ 27 กันยายน 2567 – ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) แถลงผลการจัดอันดับดัชนีนวัตกรรมโลกของประเทศไทย ประจำปี 2567 (Global Innovation Index 2024 หรือ GII 2024) ภายใต้ธีมปลดล็อกศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อสังคม (Unlocking the Promise of Social Entrepreneurship) ซึ่งจัดโ...
🪙 บทบาทของ ‘นักลงทุน’ ไม่ได้มีแค่การให้เงินสนับสนุนแล้วรอรับผลกำไรเท่านั้น แต่ ‘การลงทุน’ ยังมีส่วนในการส่งเสริมเศรษฐกิจและพัฒนาศักยภาพของสตาร์ทอัพ📈 โดยปกติแล้วการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศให้เดินหน้าอย่างมีประสิทธิภาพ ต้องพึ่งพา 4 ปัจจัยสำคัญ ได้แก่ การบริโภคภาคเอกชนภายในประเทศ (Private Consumption) การค้าต่างประเทศหรือการส่งออกสุทธิ (Net Export) การบริโภคจากภาครัฐ (Gover...
กลไกการสนับสนุนผู้ประกอบธุรกิจเทคโนโลยีและนวัตกรรมได้มีโอกาสเติบโตและขยายตลาดโดยการร่วมมือจากแหล่งทุนภาครัฐและเอกชน (Corporate Co-funding) ทุนอุดหนุนสมทบกำหนดเงื่อนไขการส่งคืนเมื่อโครงการประสบความสำเร็จเชิงพาณิชย์ (recoverable grant) แก่ผู้ประกอบการเทคโนโลยีและนวัตกรรมในระยะเริ่มต้นจนถึงระยะเติบโต (seed to growth stage) คิดเป็นมูลค่าการสนับสนุนไม่เกิน 5,000,000 บาท ต่อโครงการในระ...
🧐 ปรากฏการณ์ ‘Slowbalization’ หรือการชะลอตัวของยุคโลกาภิวัตน์ (Globalization) เป็นประเด็นที่ถูกยกขึ้นมาถกกันหลายต่อหลายครั้ง เนื่องจากโลกธุรกิจกำลังส่งสัญญาณเตือนหลายอย่าง เช่น ความไม่สมดุลทางการค้า ในประเทศมหาอำนาจอย่างสหรัฐอเมริกา การขาดดุลเป็นผลมาจากปัจจัยการเมืองที่แฝงตัวอยู่ในบริบททางนโยบายเศรษฐกิจ อาทิ การกีดกันทางการค้าที่ทำให้การส่งออกลดลง ประกอบกับรายจ่ายภาครัฐที่สูงขึ้นจากต้น...
ดร.กริชผกา บุญเฟื่อง ผู้อำนวยการสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ (องค์การมหาชน) หรือ NIA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ได้รับเกียรติเชิญเป็นวิทยากรบรรยาย หัวข้อ "การขับเคลื่อนการพัฒนานวัตกรรมเพื่อสร้างความยั่งยืนให้กับประเทศไทย" ภายในงาน ‘Krungsri Tech Day 2024’ ซึ่งจัดโดย ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน) และบริษัทในเครือ เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2567 ณ ทรู ดิ...
🗺 ในยุคที่พรมแดนของโลกแคบลง ผลงานดี ๆ ของคนไทย ควรมีโอกาสเข้าถึงตลาดโลก📈 ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการสื่อสาร ส่งผลให้ธุรกิจสร้างข้อได้เปรียบเชิงการค้าระหว่างประเทศได้ง่ายขึ้น การขยายตลาดไปสู่ประเทศอื่น ๆ ก่อให้เกิดผลดีทั้งในมุมของผู้ประกอบการไปจนถึงเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่ง NIA ได้เล็งเห็นถึงโอกาสและศักยภาพของนวัตกรรมฝีมือคนไทย รวมถึงเชื่อมั่นว่า “นวัตกรรมไทยสามารถแข่งขันในเ...